29 พฤศจิกายน 2552

แหล่งศึกษาหาความรู้ที่ดี และน่าดู สำหรับผู้ที่อยากสร้าง Home Page

http://www.thaiall.com/learn/htmsld.htm
-แจก slide สอนเขียน html
-สอนการสร้างเว็บเพจอย่างง่าย โดยแบ่งออกเป็นบทๆ

http://realdev.truehits.net/html/charpter1.php
-แหล่งความรู้เพื่อการพัฒนาเว็บไทย
http://www.holy.ac.th/holy/html.htm
-ความรู้พื้นฐานทางภาษา html
http://coolarchive.com/
-อุปกรณ์เขียน Web site1นี่ก็อีกแห่งหนึ่ง ที่มีของฟรีมากมาย
http://www.clipart.com/en/
-อุปกรณ์เขียน Web site2แห่งนี้ก็ฟรีเช่นกัน เลือกดูเอาเองนะคะ
http://www.geocities.com/Tokyo/Towers/8973/learn/learn_javascript.html
-เป็นแหล่งเรียนรู้ SourceCode มากมาย
http://www.aspchapter.com/
-แหล่งความรู้ภาษา ASP
http://www.bcoms.net/
-แหล่งความรู้ภาษา php-html สำหรับ Webmaster เพื่อสร้างเว็บเพจที่ดี
http://www.chanmedia.com/index_main.php
-ศูนย์รวมความรู้เกี่ยวกับภาษาต่างๆ ในการจัดทำเว็บไซด์
http://www.anfyteam.com/
-มีภาพ Effce มากมาย
http://www.geocities.com/Pentagon/2932/jstuep10.html
-สอนการสร้างเว็บเพจ ด้วย ภาษา Java script และมีตัวอย่างด้วย
http://www.iconbazaar.com/
-มีเนื้อหาทุกอย่างที่เกี่ยวกับ web site
http://www.iconbazaar.com/color_tables/
-ตารางค่าสี
http://builder.customix.net/
-แหล่งข้อมูลสำหรับเว็บมาสเตอร์ชาวไทย
http://www.vcharkarn.com/links/approvedsites/index.php?submit=computer
-แหล่งความรู้ในทุกเรื่อง

ที่มา
http://www.ubonratchathani.go.th/link_HTML.html

ปฎิบัติการที่ 4 โปรแกรมภาษา PHP

ข้อที่6
จากประสบการณ์ที่เคยเรียนมาในรายวิชาการเขียนโปรแกรมอื่นๆ
คิดว่าตัวดำเนินการทั้งสองมักจะใช้สถานการณ์ของการกำหนดตัวแปรและการประกาศตัวแปรก่อน
แล้วนำตัวแปรที่กำหนดในการแสดงผลนั้นมาทำการคำนวณโดยสมการที่เราได้กำหนดขึ้นมา
ซึ่งเครื่องหมายที่ใช้ในการคำนวณนั้นเป็นตัวดำเนินการที่ PHP ได้เตรียมไว้ให้ใช้งานอยู่แล้ว


ข้อที่9



แสดงผลลัพธ์ข้อที่9
ข้อที่12


แสดงผลลัพธ์ข้อที่12



ข้อที่15




แสดงผลลัพธ์ข้อที่15







ปฎิบัติการที่ 3 โปรแกรมภาษา PHP

ข้อที่ 4


แสดงผลลัพธ์ข้อที่ 4


ข้อที่ 7




แสดงผลลัพธ์ข้อที่ 7






ข้อที่ 14






แสดงผลลัพธ์ข้อที่ 14




28 พฤศจิกายน 2552

gis เพื่ออุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาล

ระบบภูมิสารสนเทศเพื่ออุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาล วัตถุประสงค์หลักของการประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ในอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาล อาจจำแนกออกได้เป็น 3 ส่วนหลัก อันได้แก่
1. เพื่อการวิเคราะห์เพิ่มผลผลิต (Increse Production)
2. ลดค่าใช้จ่ายของวัตถุดิบ (Reduce Input Cost)
3. การบริหารจัดการแปลง ไร่ ให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น (Manage Farmland Efficiently)
ข้อมูลอันเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำตาลที่อยู่อย่างกระจัดกระจาย ในหลากหลายรูปแบบสามารถนำมารวมในระบบเดียวได้

ข้อมูลดังกล่าวอันได้แก่

• • ข้อมูลแปลงไร่อ้อยของเกษตรกรแต่ละราย ที่ถูกจัดเก็บด้วย GPS
• • ข้อมูลจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
• • ข้อมูลสภาวะอากาศ
• • ข้อมูลคุณภาพดิน
• • ข้อมูลภูมิประเทศบริเวณเพาะปลูก
• • ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน
• • ข้อมูลจำนวนประชากร
• • ภาพถ่ายทางอากาศ
• • ภาพถ่ายจากดาวเทียม


เมื่อข้อมูลจากหลากหลายแหล่งที่ครั้งหนึ่งอยู่อย่างแยกกัน สามารถนำเข้ามารวมกันในระบบเดียวกันได้ จะทำให้วัตถุประสงค์ 3 ประการข้างต้นสามารถบรรลุผลได้ ข้อมูลจะถูกนำมาวิเคราะห์ด้วย Software และบุคลากร ทำให้เกิดคำตอบใหม่ๆ ช่วยแก้ ปัญหาอันเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลได้

การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม Data Collection in the Field

เกษตรกรผู้เพาะปลูก และเจ้าของโรงงานน้ำตาล จะเป็นผู้ที่มีความใกล้ชิดกับการผลิต, เพาะปลูกได้ดีที่สุด อย่างไรก็ตามการขาดข้อมูลเชิงพื้นที่ของบริเวณไร่ จะทำให้การตัดสินใจใดๆ ทำได้ไม่ดีเท่าที่ควร การเก็บข้อมูลภาคสนามจึงมีความจำเป็น ข้อมูลดังกล่าวอันได้แก่

• • ขนาดของพื้นที่
• • เจ้าของที่และเกษตรกร
• • จำนวนสินเชื่อ
• • ข้อมูลคุณภาพดินภาคสนาม
• • จำนวนผลผลิตที่ได้
• • ประวัติโรคทางพืช

เมื่อข้อมูลเชิงพื้นที่ได้ถูกจัดเก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบและทำอย่างต่อเนื่อง การตัดสินใจใดๆจะมีข้อมูลรองรับอย่างสมบูรณ์ครบถ้วน ทำให้ตัดสินใจไม่ผิดพลาด
การวิเคราะห์ข้อมูลและทำความเข้าใจผลของการวิเคราะห์ (Data Analysis and Interpretation Using GIS)
ข้อมูลภาคสนามและข้อมูลจัดหาจากแหล่งอื่นนำมาซ้อนทับ (Overlay) เพื่อสร้างแผนที่ใหม่ที่บอกข่าวสารใหม่ให้แก่เราได้

• ตำแหน่งการเพาะปลูกของเกษตรกรและผลผลิตต่อไร่
• การให้สินเชื่อแก่เกษตรกร และการติดตามผลผลิต
• การวิเคราะห์ผลผลิตโดยใช้หลักทางสถิติ
• การวางแผนการขนส่งสินค้าเกษตร
• การวางแผนป้องกันวัชพืชและโรคพืช
• การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิตของโรงงาน

GIS and CAMA

GIS ย่อมาจาก Geographical Information System หรือระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
สามารถนำมาใช้ประกอบการประเมินค่าทรัพย์สินแบบ CAMA หรือ Mass Appraisal ได้
ซึ่งถือเป็นการผสานเทคโนโลยีสำคัญที่จะทำให้การประเมินค่าทรัพย์สินได้รับการพัฒนาให้ก้าวกระโดดไปข้างหน้าอีกก้าวหนึ่ง โดยสามารถมองเห็นภาพประกอบด้วย กรณีที่นำ GIS มาใช้ประกอบในส่วนของการวิเคราะห์ ก็คือการสร้างเส้นแสดงความสูงต่ำของพื้นที่(contour line)ตามราคาที่ดินหรือราคาบ้านที่สูงต่ำแตกต่างกัน เส้นดังกล่าวนี้ช่วยให้เห็นทิศทางการเพิ่มลดของมูลค่าทรัพย์สินในแต่ละทำเล ทำให้เห็นภาพการเชื่อมต่อของราคาในแต่ละจุด ในทางตรงกันข้ามเส้นดังกล่าวนี้ยังช่วยในการพิจารณาว่ามูลค่าทรัพย์สินที่ประเมินได้สอดคล้องกับความเป็นจริงหรือไม่ เช่น ในพื้นที่ชุมชนแออัด ราคาบ้านน่าจะต่ำ แต่หากออกมาสูงก็อาจแสดงว่าข้อมูลหรือแบบจำลองควรได้รับการทบทวน GIS and CAMA ในกระบวนการพัฒนาเมือง การจัดการการใช้ที่ดินและการประเมินค่าทรัพย์สินในปัจจุบันอาศัยเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographical Information System: GIS) มากยิ่งขึ้น เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงกับเครือข่ายแผนที่อย่างเป็นรูปธรรม และในปัจจุบันเทคโนโลยีนี้ยังเชื่อมโยงกับการประเมินค่าทรัพย์สินโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer-Assisted Mass Appraisal: CAMA) เพื่อให้การประเมินมีความเป็นวิทยาศาสตร์และเชื่อถือได้ยิ่งขึ้น ตามมาตรฐานการประเมินค่าทรัพย์สินของสหรัฐอเมริกา กำหนดว่า CAMA หรือ Computer Assisted Mass Appraisal

ประกอบด้วย

1. การกำหนดอสังหาริมทรัพย์ที่พึงประเมิน เช่น เป็นที่อยู่อาศัยหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นใด

2. การกำหนดขอบเขตพื้นที่ เช่น ในเขตเมืองหรือนครหนึ่ง ๆ

3. การกำหนดเงื่อนไขหรือตัวแปรที่น่าจะมีผลต่อมูลค่าตลาดของทรัพย์สิน

4. การพัฒนาโครงสร้างของแบบจำลองทางสถิติ ที่สะท้อนความสัมพันธ์เชิงตัวแปรต่อมูลค่าตลาดของทรัพย์สิน

5. การตรวจวัดความแม่นยำของตัวแปรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงมูลค่าทรัพย์สิน

6. การนำแบบจำลองนี้ไปปรับใช้ในพื้นที่ เพื่อขยายผลให้สามารถประเมินค่าทรัพย์สินได้อย่างประหยัดและรวดเร็ว

7. การปรับปรุงแบบจำลองแบบต่อเนื่องเพื่อความเหมาะสมกับภาวะตลาดยิ่งขึ้นในอนาคต
ดังนั้นการทำ CAMA จะได้ผลดีหรือไม่จึงขึ้นอยู่กับการกำหนด และดำเนินการตามขั้นตอนข้างต้น โดยเฉพาะกรณีการจัดหาข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ หากข้อมูลไม่ดีพอ ผลที่ได้ก็อาจไม่น่าเชื่อถือ

digital image processing

image processing

คือ เป็นการประยุกต์ใช้งานการประมวลผลสัญญาณบนสัญญาณ 2 มิติ เช่น ภาพนิ่ง (ภาพถ่าย) หรือภาพวีดิทัศน์(วีดิโอ) และยังรวมถึงสัญญาณ 2 มิติอื่นๆ ที่ไม่ใช่ภาพ พูดง่ายๆคือ การเอาภาพมาคิดคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์รู้ว่าภาพนั้นคือภาพอะไร หรือมีสิ่งที่สนใจอยู่ในภาพหรือไม่ โดยที่ไม่ต้องใช้สายตาของคนมาช่วยตัดสินค่ะ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เทคโนโลยีดิจิตอลที่ทันสมัยขึ้น ทั้งยังสามารถจัดการหลายมิติกับระบบสัญญาณช่วงจากวงจรดิจิตอลง่ายๆกับคอมพิวเตอร์ขนานสูงเป้าหมายของการจัดการนี้สามารถแบ่งออกเป็นสามประเภท

* Image ประมวล ภาพ - ภาพ> out

* ภาพ การวิเคราะห์ ใน ภาพ - การ วัด> out

* ภาพการทำความเข้าใจ ในภาพ -> คำอธิบายระดับสูง > out


ทีมา
http://www.imageprocessingplace.com/


http://en.wikipedia.org/wiki/Digital_image_processing

03 พฤศจิกายน 2552

ความแตกต่างระหว่าง analog กะ digital

Analog -> Continuous
Digital -> Discrete

Analog แปลว่า มายังไงไปอย่างนั้น
Digital แปลว่า คัดเอาแต่ที่ดีๆ

Analog แปลว่า สัญญาณแบบต่อเนื่อง
Digital แปลว่า
สัญญาณเชิงเลขแบบไม่ต่อเนื่อง

104315 digital image processing

การเริ่มต้นเขียน blog อีกครั้ง